วันอังคารที่ 17 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2552

1. ถ้าต้องการหาบทความเกี่ยวกับเศรษฐกิจพอเพียง บนอินเทอร์เน็ตควรใช้เครื่องมือสืบค้นในข้อใด
ก. ดรรชนีวารสาร ข. Search engine ค. OPAC ง. เครื่องมือสืบค้นฐานข้อมูลออนไลน์
2. ถ้าต้องการทราบว่า ห้องสมุดวิทยาลัยเทคนิคนครปฐม มี หนังสือ เกี่ยวกับ โลกร้อน กี่รายการ จะใช้เครื่องมือชนิดใด
ก. บัตรรายการ ข. OPAC ค. ดรรชนีวารสาร ง. บรรณานุกรม
3. การค้นหาบทความเกี่ยวกับจังหวัดนครปฐม ต้องใช้เครื่องมือสืบค้นชนิดใด
ก. บัตรรายการ ข. OPAC ค. ดรรชนีวารสาร ง. บรรณานุกรม
4. การค้นหาทรัพยากรสารสนเทศของห้องสมุดวิทยาลัยเทคนิคนครปฐม ทรัพยากรใด ไม่สามารถค้นผ่าน OPAC ได้
ก. โสตทัศนวัสดุ ข. บทความวารสาร ค. หนังสือ ง. วีดีทัศน์
5. ถ้าต้องการค้นหาหนังสือพจนานุกรม ในห้องสมุดวิทยาลัยเทคนิคนครปฐม จะต้องใช้เครื่องมือสืบค้นใด
ก. บัตรรายการ ข. ดรรชนีวารสาร ค. บรรณานุกรม ง. OPAC
6. การค้นหา ภาพเคลื่อนไหวเกี่ยวกับโฆษณาบนเว็บไซต์ ต้องใช้เครื่องมือสืบค้นใด
ก. Web Browser ข. Search engine ค. เครื่องมือสืบค้น ฐานข้อมูลออนไลน์ ง. World Wide Web
7. ถ้าต้องการค้นหาบทความออนไลน์จากหน่วยงานราชการ ที่ทราบ URL อยู่แล้ว จะต้องทำอย่างไร
ก. ค้นได้โดยตรงจาก URL ข. ค้นผ่าน search engine ค. ค้นผ่าน web browser ง. ค้นผ่านสารบัญเว็บ
8 การค้นข้อมูลผ่าน search engine นิยมใช้สิ่งใดเป็นคำค้น
ก. ผู้แต่ง ข. ชื่อเรื่อง ค. คำสำคัญ ง. หัวเรื่อง
9. คำค้นในข้อใด ไม่สามารถใช้เป็นช่องทางค้นหารายการหนังสือ ได้
ก. ปีพิมพ์ ข. ชื่อผู้แปล ค. ชื่อหนังสือ ง. คำที่ใช้แทนเนื้อเรื่องของหนังสือ
10. การสืบค้นบทความจากอินเทอร์เน็ต Google ประเทศไทย มี ต้อง พิมพ์คำว่าอะไร ในช่อง address
ก. http://www.google.go.th ข. http://www.google.comค. http://www.google.org ง. http://www.google.co.th
1. ในการค้นหาบทความออนไลน์ เมื่อเว็บไซต์แสดงผลรายการทรัพยากรจากการค้นหา ใช้หลักเกณฑ์ใด เลือกบทความที่
ต้องการ
ก. เลือกรายการทรัพยากรที่แสดงลำดับที่ 1 ทันที
ข. อ่านคำอธิบายรายการทรัพยากรแต่ละรายการเพื่อพิจารณาว่าตรงตามต้องการหรือไม่แล้วจึงเลือก
ค. เปิดดูรายการทรัพยากรไปเรื่อย ๆ ทุกรายการ ทีละหน้า จนกว่าจะพบเรื่องที่ต้องการ
ง. เลือกรายการที่มี address สั้นที่สุด
2. หลักการเลือกสารสนเทศเพื่อประกอบการทำรายงาน มีวิธีการอย่างไร
ก. พิจารณาจากหัวข้อเรื่องรายงานเป็นหลัก ข. พิจารณาจากความน่าเชื่อถือของสารสนเทศ
ค. พิจารณาจากความเหมาะสมกับผู้ใช้ ง. พิจารณาจากความสัมพันธ์ระหว่างขอบเขตเนื้อหากับลักษณะสารสนเทศ
3. การวิเคราะห์สารสนเทศต้องอาศัยทักษะใดมากที่สุด นอกจากทักษะการอ่าน
ก. ทักษะการฟัง ข. การคิดวิเคราะห์ ค. ทักษะการจำ ง. ทักษะการเขียน
4. หลักการอ่านเพื่อวิเคราะห์สารสนเทศ ใช้วิธีอ่านแบบใด
ก. อ่านสำรวจ ข. อ่านข้าม ค. อ่านสรุปความ ง. อ่านจับประเด็น
5. ส่วนใดของบัตรบันทึก ที่เป็นข้อมูลทางบรรณานุกรม
ก. แหล่งที่มา ข. คำสำคัญ ค. เนื้อเรื่อง ง. หัวเรื่อง
6. การจดบันทึกแบบใด ที่เมื่อจัดทำรายงานแล้ว ต้องอ้างอิงแทรกในเนื้อเรื่อง
ก. บันทึกแนวคิด ข. บันทึกแบบสรุปความ ค. บันทึกแบบถอดความ ง. บันทึกแบบคัดลอกข้อความโดยตรง
7. ทรัพยากรสารสนเทศในข้อใด ที่ต้องบันทึก วัน เดือน ปี ที่ค้นข้อมูล ในแหล่งที่มา
ก. บทความจากหนังสือพิมพ์ ข. บทความวารสาร ค. บทความบนอินเทอร์เน็ต ง. บทความจากสารานุกรม
8. ข้อใด ไม่ใช่ ประโยชน์ของการจดบันทึก
ก. เพื่อเตือนความจำ ข. เพื่อการอ้างอิง ค. เพื่อวิเคราะห์ความสัมพันธ์ของสารสนเทศ ง. เพื่อเป็นมาตรฐาน
9. การอ่านทรัพยากรสารสนเทศประเภทใด ผู้อ่านไม่ควรอ่านทั้งหมด
ก. บทความวารสาร ข. ทรัพยากรอ้างอิง ค. หนังสือ ง. บทความบนอินเทอร์เน็ต
10. ในการจดบันทึก ส่วนใด จะต้องบันทึกเป็นลำดับแรก
ก. คำสำคัญหรือหัวข้อ ข. แหล่งที่มา ค. บรรณานุกรม ง. เนื้อเรื่อง

วันอาทิตย์ที่ 1 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2552

สารบัญ

หน้า ข
สารบัญ
เรื่อง _____________________________________________หน้า
คำนำ _____________________________________________
บทนำ _____________________________________________1
คำขวัญ ____________________________________________1
ประเพณี ____________________________________________1
สถานที่ท่องเที่ยว ______________________________________1
บทสรุป ____________________________________________1
บรรณานุกรม _________________________________________2

วันพฤหัสบดีที่ 29 มกราคม พ.ศ. 2552

บรรณานุกรม

หน้า 2
จังหวัดสุโขทัย(มปป) ค้นข้อมูลวันที่ 9 มกราคม 2552 . จากhttp://www.sukhothai.go.th/tour/tour_01.htm
จังหวัดสุโขทัย(2552)ค้นข้อมูล วันที่ 8 มกราคม 2552 . จาก
http://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%88%E0%B8%B1%E0%B8%87%E0%B8%AB%E0%B8%A7%E0%B8%B1%E0%B8%94%E0%B8%AA%E0%B8%B8%E0%B9%82%E0%B8%82%E0%B8%97%E0%B8%B1%E0%B8%A2
อุดม เชยกีวงศ์. (2548).ของดี 4 ภาค ชุดภาคเหนือ.กรุงเทพฯ:ภูมิปัญญา

วันอังคารที่ 20 มกราคม พ.ศ. 2552

เนื้อเรื่อง

หน้า 1
บทนำ
สุโขทัยเป็นจังหวัดที่หลายคนรู้จักในนามเมืองหลวงแรกของประเทศไทย หลายคนเรียกเมืองเก่าสุโขทัย

คำขวัญ
มรดกโลกล้ำเลิศ กำเนิดลายสือไทย
เล่นไฟลอยกระทง ดำรงพุทธศาสนา
งามตาผ้าตีนจก สังคโลกทองโบราณ
สักการแม่ย่าพ่อขุน รุ่งอรุณแห่งความสุข (อุดม เชยกีวงศ์,2548)

ประเพณี
เทศกาลงานประเพณี
-งานวันพ่อขุนรามคำแหงมหาราช
-งานสักการะพระแม่ย่าและงานกาชาด
-ประเพณีการทำขวัญผึ้ง

-งานเบิกฟ้ามหาประเพณีศรีสัชนาลัยมรดกโลก
-ประเพณีสรงน้ำโอยทาน
-ประเพณีแห่น้ำขึ้นโฮงสรงน้ำเจ้าพ่อเมืองด้ง
-งานแข่งขันเรือพายเทโวโรหณะ-ประเพณีลอยกระทง เผาเทียน เล่นไฟ
-แรลลี่ท่องป่าสักใหญ่ ห่วงใยสัตว์ป่าฯ
-เทศกาลพิชิตยอดเขาหลวง
-งานรับลมหนาวฯ
-เทศกาลอาหารเมืองสุโขทัย (จังหวัดสุโขทัย,2552)

สถานที่ท่องเที่ยว
สถานที่ท่องเที่ยวจังหวัดสุโขทัย
-
อุทยานประวัติศาสตร์สุโขทัย
-
อุทยานประวัติศาสตร์ศรีสัชนาลัย
-
อุทยานแห่งชาติรามคำแหง
-
อุทยานแห่งชาติศรีสัชนาลัย
-
พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติรามคำแหง
-
พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติสวรรควรนายก
-
พิพิธภัณฑ์สังคโลกสุโขทัย
-
พิพิธภัณฑ์ปลาในวรรณคดี
-
ศาลพระแม่ย่า
-
หลวงพ่อศิลา
-
วัดพิพัฒน์มงคล
-
ทุ่งแม่ระวิง
-
ถ้ำเจ้าราม
-
พระพุทธอุทยานสุโขทัย
-
ท่องเที่ยวเชิงเกษตร (จังหวัดสุโขทัย,ม.ป.ป.)
บทสรุป
จังหวัดสุโขทัยเป็นจังหวัดที่มีทั้งสถานที่ท่องเที่ยวที่น่าสนใจ คือ "เมืองเก่าสุโขทัย " ประเพณีที่น่าสนใจคือ "ประเพณีลอยกระทงเผาเทียนเล่นไฟ" และ คำขวัญคือ "มรดกโลกล้ำเลิศ กำเนิดลายสือไทยเล่นไฟลอยกระทง ดำรงพุทธศาสนางามตาผ้าตีนจก สังคโลกทองโบราณสักการแม่ย่าพ่อขุน รุ่งอรุณแห่งความสุข"

คำนำ

หน้า ก
คำนำ
รายงานฉบับนี้จัดทำขึ้นเพื่อศึกษาเกี่ยวกับสถานที่ท่องเที่ยว ประเพณี และคำขวัญของจังหวัดสุโขทัย โดยรวบรวมจากแหล่งสารสนเทศทั้งที่เป็นเอกสารและบทความที่ออนไลน์ทางอินเตอร์เน๊ต หวังว่าจะเป็นประโยชน์แก่ผู้อ่านตามสมควร
ผู้จัดทำขอขอบคุณครูและผู้ที่มีส่วนช่วยให้รายงานนี้สำเร็จได้ด้วยดี
นวรุจ กล่ำป้อง
21 มกราคม 2552

วันอังคารที่ 13 มกราคม พ.ศ. 2552

ปกใน

สุโขทัย
นวรุจ กล่ำป้อง
รหัส 5131040079
แผนกวิชาช่างไฟฟ้ากำลัง
รายงานนี้เป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาวิชาห้องสมุดกับการรู้สารสนเทศ
รหัสวิชา 3000-1601
ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2551
วิทยาลัยเทคนิคนครปฐม

ปกนอก

สุโขทัย
นวรุจ กล่ำป้อง
รหัส 5131040079
แผนกวิชาช่างไฟฟ้ากำลัง